Warning: Invalid argument supplied for foreach() in /home/calcool/domains/calcoolacademy.com/public_html/components/com_flexicontent/models/item.php on line 132
ลิมิตของฟังก์ชัน 0/0 แยกตัวประกอบ
-
CreatedWednesday, 01 October 2014
-
Created bySuriya Kaewmungmuang
-
Last modifiedWednesday, 26 July 2017
-
Revised byดานูป
-
Favourites115 ลิมิตของฟังก์ชัน 0/0 แยกตัวประกอบ /calculus/item/115-factorization
-
Categories
การแยกตัวประกอบ (อังกฤษ: factorization) ในทางคณิตศาสตร์ หมายถึงการแบ่งย่อยวัตถุทางคณิตศาสตร์ (เช่น จำนวน พหุนาม หรือเมทริกซ์) ให้อยู่ในรูปผลคูณของวัตถุอื่น ซึ่งเมื่อคูณตัวประกอบเหล่านั้นเข้าด้วยกันจะได้ผลลัพธ์ดังเดิม ตัวอย่างเช่น จำนวน 15 สามารถแยกตัวประกอบให้เป็นจำนวนเฉพาะได้เป็น 3 × 5 และพหุนาม {\displaystyle x^{2}-4} สามารถแยกได้เป็น {\displaystyle (x-2)(x+2)} เป็นต้นจำนวนเชิงซ้อน (อังกฤษ : complex number) ในทางคณิตศาสตร์ คือ เซตที่ต่อเติมจากเซตของจำนวนจริงโดยเพิ่มจำนวน {\displaystyle i} ซึ่งทำให้สมการ {\displaystyle i^{2}+1=0} เป็นจริง และหลังจากนั้นเพิ่มสมาชิกตัวอื่น ๆ เข้าไปจนกระทั่งเซตที่ได้ใหม่มีสมบัติการปิดภายใต้การบวกและการคูณ จำนวนเชิงซ้อน {\displaystyle z} ทุกตัวสามารถเขียนอยู่ในรูป {\displaystyle x+iy} โดยที่ {\displaystyle x} และ {\displaystyle y} เป็นจำนวนจริง โดยเราเรียก {\displaystyle x} และ {\displaystyle y} ว่าส่วนจริง (real part) และส่วนจินตภาพ (imaginary part) ของ {\displaystyle z} ตามลำดับ จุดมุ่งหมายของการแยกตัวประกอบคือการลดทอนวัตถุให้เล็กลง อาทิ จากจำนวนไปเป็นจำนวนเฉพาะ จากพหุนามไปเป็นพหุนามลดทอนไม่ได้(irreducible polynomial) การแยกตัวประกอบจำนวนเต็มเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีบทมูลฐานของเลขคณิต ส่วนการแยกตัวประกอบพหุนามเป็นส่วนหนึ่งของทฤษฎีบทมูลฐานของพีชคณิต สำหรับพหุนาม สิ่งที่ตรงข้ามกับการแยกตัวประกอบคือการกระจายพหุนาม (polynomial expansion) ซึ่งเป็นการคูณตัวประกอบทุกตัวเข้าด้วยกันเป็นพหุนามใหม่ cr.https://th.wikipedia.org/wiki/การแยกตัวประกอบ